ประวัติของ อบต. ข้อมูลทั่วไป
นโยบายนายก
โครงสร้าง อบต.
วิสัยทัศน์ และอำนาจหน้าที่
รายนามคณะผู้บริหาร
รายชื่อสมาชิกสภา อบต.
อัตรากำลังของ อบต.
สำนักปลัด
กองคลัง
กองช่าง
กองการศึกษา, ศาสนาและวัฒนธรรม
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
แผนยุทธศาสตร์หรือแผนพัฒนาหน่วยงาน
สถิติรายได้
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
วัด
แผนการขับเคลื่อนหน่วยงาน
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
การปฏิสัมพันธ์ข้อมูล
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
การดำเนินงาน
แผนยุทธศาสตร์หรือแผนพัฒนาหน่วยงาน
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงานและการใช้งบประมาณประจำปีรอบ 6 เดือน
รายงานผลการดำเนินงานประจำปี
การปฏิบัติงาน
คู่มือหรือมาตรฐานการปฏิบัติงาน
การให้บริการ
คู่มือหรือมาตรฐานการให้บริการ
รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจการให้บริการ
ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบลดอยหล่อ
ข้อบัญญัติ
รายงานการกำกับติดตามการใช้จ่ายงบประมาณรอบ 6 เดือน
รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
การจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ
แผนการจัดซื้อจัดจ้างหรือแผนการจัดหาพัสดุ
ประกาศต่างๆ เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ
สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุรายเดือน
รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุประจำปี
การจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
ช่องทางแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
ข้อมูลเชิงสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบประจำปี
การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม
ช่องทางรับฟังความคิดเห็น
การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม
มาตรการเสริมสร้างมาตรฐานทางจริยธรรม
ประมวลจริยธรรมสำหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ
การขับเคลื่อนจริยธรรม
การประเมินจริยธรรมเจ้าหน้าที่ของรัฐ
เจตจำนงสุจริตของผู้บริหาร
เจตจำนงสุจริตของผู้บริหาร
การมีส่วนร่วมของผู้บริหาร
นโยบาย No Gift Policy
ประกาศเจตนารมณ์นโยบาย No Gift Policy จากการปฏิบัติหน้าที่
การสร้างวัฒนธรรม No Gift Policy
รายงานผลตามนโยบาย No Gift Policy
การประเมินความเสี่ยงการทุจริตและประพฤติมิชอบประจำปี
การดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริตและประพฤติมิชอบ
แผนป้องกันการทุจริต
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงานป้องกันการทุจริตประจำปี รอบ 6 เดือน
รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี
รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจการให้บริการ
การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
นโยบายหรือแผนการบริหารทรัพยากรบุคคล
การดำเนินการตามนโยบายหรือแผนการบริหารทรัพยากรบุคคล
หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลประจำปี
การประเมินความเสี่ยงเพื่อการป้องกันการทุจริต
การประเมินความเสี่ยงการทุจริตและประพฤติมิชอบประจำปี
การดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริตและประพฤติมิชอบ
มาตรการส่งเสริมความโปร่งใสและป้องกันการทุจริตภายในหน่วยงาน
มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน
การดำเนินการตามมาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน
งานภาษี
ข้อมูลสนามกีฬาในตำบลดอยหล่อ
ข้อมูลศาสนา วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น
นายก อบต. คุยกับประชาชน
ที่อยู่ติดต่อ
แผนที่ของ อบต.ดอยหล่อ
 
 

 
การสร้างวัฒนธรรม No Gift Policy
                                                               วัฒนธรรมองค์กร

        1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องปรับวัฒนธรรมองค์การใหม่ (Cultural Change) เนื่องจากวัฒนธรรมองค์การ มีอิทธิพลต่อการปฏิบัติงานของพนักงาน การปรับเปลี่ยน ทางวัฒนธรรมจึงเป็นการหล่อหลอมให้พนักงาน มีพฤติกรรม ในการทำงานที่ดีขึ้น ลดภาระทำงานแบบเช้าชามเย็นชาม ผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจึงควรตระหนักและ ทำความเข้าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรมเพื่อนำไปสู่การวางแผน และการปรับใช้วัฒนธรรมการทำงานได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และที่สำคัญสามารถวิเคราะห์ได้ว่าวัฒนธรรม องค์การแบบใดเหมาะสมกับหน่วยงานตนเองมากที่สุด

          2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องปรับระบบการบริหารงานบุคลากรแนวใหม่ (Personal Administration) หมายถึง หน่วยงานท้องถิ่นต้องส่งเสริมหรือสนับสนุนให้บุคลากรภายในและภายนอกหน่วยงานมีศักยภาพทั้งทางด้าน ความรู้ทักษะ และความสามารถในการดำเนินชีวิตภายใต้การเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจแนวใหม่ของไทยแลนด์ 4.0 แนวทางการบริหารงานบุคคลนี้ ควรเสริมสร้างความมีวินัยความรับผิดชอบ หรือสร้างความเป็นพลเมืองที่ดีด้วย เนื่องจากรากฐานของการพัฒนาท้องถิ่นให้เข้มแข็งต้องเกิดจากท้องถิ่นมีพลเมืองที่มีคุณภาพ มีความสุข มีคุณธรรม มีจิตใจที่เยือกเย็น อารมณ์แจ่มใส มั่นคง ไม่มีความเครียด สุขุม มีเมตตากรุณา เอื้อเฟื้อต่อผู้อื่น รู้จักประมาณตนมีความพอเพียง เข้าใจสัจธรรมของชีวิต มองโลกในแง่ดี มีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง เป็นต้น

          3. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องเน้นการพัฒนาท้องถิ่นแบบมีส่วนร่วม (Participations) โดยเปิดโอกาส ให้ประชาชนในพื้นที่ได้เข้ามามีส่วนในการวางแผน การดำเนินงาน รวมถึงการตรวจสอบการดำเนินโครงการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น การเข้ามามีส่วนร่วมของประชาชนสามารถกระทำได้โดยอาศัยการคิด การตัดสินใจสำหรับการแก้ไขปัญหาของตนเองร่วมกับการใช้ความคิดเชิงสร้างสรรค์เพื่อพัฒนางาน การที่ประชาชน ภายในพื้นที่มีการรวมกลุ่มในรูปแบบประชาคม โดยเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนให้ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมแก้ไข ปัญหานั้น จำเป็นต้องมีความร่วมมือในการทำพร้อมๆ กัน ในทุกระดับเพื่อเสริมสร้างความเป็นชุมชนท้องถิ่นที่เข้มแข็ง

          4. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องมีผู้บริหารแนวใหม่ นั้นหมายถึง ผู้บริหารต้องเป็นผู้ซึ่งมีจิตอาสา กล้าคิด การเปลี่ยนแปลง มีวิสัยทัศน์สามารถพัฒนาท้องถิ่น ให้ก้าวไกล เช่น ควรส่งเสริมและสนับสนุนผลิตภัณฑ์ของชุมชนท้องถิ่นให้มีความโดดเด่นและมีอัตลักษณ์ของท้องถิ่นนั้นโดยเฉพาะ และผู้บริหารท้องถิ่นแนวใหม่ ต้องมีความสามารถในการเป็นนักธุรกิจเพื่อหารายได้ ให้กับคนในท้องถิ่นเพิ่มขึ้น หรือกล่าวแบบง่ายๆ คือ การสนับสนุนให้มีตลาดชุมชนท้องถิ่นเพื่อใช้เป็นสถานที่ ในการแลกเปลี่ยนสินค้าชุมชน

         5. การส่งเสริมและปรับบทบาทท้องถิ่นให้สามารถจัดการตนเองได้ (Self - Management) โดยต้องประสาน ความร่วมมือจากภาคส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในรูปแบบ เครือข่ายทางสังคม เนื่องจาก ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลง ที่จะเกิดขึ้นภายในยุคไทยแลนด์ 4.0 หน่วยงานไม่สามารถ อยู่ได้โดยลำพังการทำงานแบบเครือข่ายจึงเป็นสิ่งสำคัญ ในช่วงระยะเวลาดังกล่าว อนึ่ง ในบทบาทของท้องถิ่นจะ ต้องเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับประชาชนสามารถพึ่งพาตนเอง ได้มากขึ้น ประชาชนมีสำนึกรักบ้านเกิดและมีความ ภาคภูมิใจในการเป็นส่วนหนึ่งของท้องถิ่นนั้น ซึ่งจุดหลักของการสร้างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้สามารถ พึ่งพาตนเองได้ คือ การสร้างประชาธิปไตยท้องถิ่นที่มิใช่ การสร้างการปกครองหรือการบริหารเป็นหลัก แต่เป็นการเน้นที่รูปแบบการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่เป็นสำคัญ เพราะประชาชนคือเจ้าของทรัพยากร เจ้าของพื้นที่ และ เจ้าของอำนาจอธิปไตย

 

 
 
 Copy Right 2006-2024 โดย องค์การบริหารส่วนตําบล ดอยหล่อ - http://www.doilor.org
สำนักปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลดอยหล่อ อำเภอดอยหล่อ จังหวัดเชียงใหม่
เว็บไซต์ ออกแบบและพัฒนาโดย www.click2solutions.com